โรคไข้หวัดใหญ่
โรคไข้หวัดใหญ่ หรือ ฟลู (Influenza หรือ flu) เป็นอีกโรคพบบ่อยในทุกอายุทั้งในเด็กจน ถึงผู้สูงอายุ และมีโอกาสเกิดใกล้เคียงกันทั้งในผู้หญิงและในผู้ชาย เป็นโรคเกิดได้ตลอดปี แต่พบได้สูงขึ้นในช่วงฤดูหนาว
วันอาทิตย์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2562
เรามารู้จักโรคไข้หวัดใหญ่กัน
โรคไข้หวัดใหญ่คือ?
ไข้หวัดใหญ่ (Flu or Influenza) คือ โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจในส่วนของจมูก ลำคอ และปอด อาการเบื้องต้นคล้ายไข้หวัดธรรมดา มีไข้ ตัวร้อน น้ำมูกไหล ไอหรือจาม แต่มีความรุนแรงและมีโอกาสพัฒนาสู่ภาวะแทรกซ้อนได้ เป็นโรคที่สามารถพบได้ตลอดปี และระบาดในช่วงเปลี่ยนผ่านฤดูที่มีสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงฉับพลัน โดยเฉพาะในฤดูหนาวและฤดูฝนที่เอื้อต่อการแพร่ระบาดของเชื้อโรคได้เป็นอย่างดีโรคไข้หวัดใหญ่เกิดได้อย่างไร?
ไข้หวัดใหญ่เป็นโรคเกิดจากติดเชื้อไวรัสอินฟลูเอนซา (Influenza viruses) เป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจเช่นเดียวกับโรคหวัด (ไข้หวัดธรรมดาหรือ ไข้หวัด) แต่จากไวรัสคนละชนิดและมีความรุนแรงสูงกว่าโรคหวัดธรรมดามากไวรัสไข้หวัดใหญ่มีหลายสายพันธุ์ย่อย ซึ่งแต่ละสายพันธุ์ย่อยมีความรุนแรงของโรคต่าง กันและเป็นไวรัสในกลุ่มเดียวกับไวรัสไข้หวัดนก แต่เป็นคนละสายพันธุ์ย่อย
โรคไข้หวัดใหญ่มีอาการอย่างไร?
อาการสำคัญของโรคไข้หวัดใหญ่ที่พบบ่อยได้แก่ มีไข้สูง บางครั้งสูงมาก 38 - 41 อง ศาเซลเซียส
(Celsius) โดยไข้ขึ้นสูงภายใน 1 วัน ปวดศีรษะมาก ปวดกระบอกตาเวลาตาเคลื่อนไหวมีน้ำตาไหลเมื่อมีแสงสว่าง ปวดกล้ามเนื้อ/ปวดเมื่อยเนื้อตัวอ่อนเพลียมาก ไอแห้ง ๆ เจ็บคอ คัดจมูก เบื่ออาหาร ทั้งหมดเป็นอาการที่พบได้บ่อยแต่อาการที่อาจพบได้และเป็นอา การรุนแรงกว่า เช่น หายใจเหนื่อย หอบหายใจมีเสียงหวีด ไอรุนแรง หนาวสั่น คลื่นไส้ ท้อง เสีย มึนงง ซึมและ หัวใจล้มเหลว
แพทย์วินิจฉัยโรคไข้หวัดใหญ่ได้อย่างไร?
เมื่อเป็นไข้หวัดใหญ่ที่สำคัญ คือ
1 เมื่อมีไข้ ควรหยุดโรงเรียนหรือหยุดงานแยกตัวและของใช้จากผู้อื่น เพื่อพักผ่อนและป้องกันการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
2 พักผ่อนให้มากๆ
3 รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงลดโอกาสเกิดโรคข้างเคียงแทรกซ้อนและลดการแพร่เชื้อ
4 พยายามกินอาหารมีประโยชน์ห้าหมู่ในทุกวัน
5 ดื่มน้ำสะอาดให้มากๆอย่างน้อยวันละ 6 -8 แก้วเมื่อไม่มีโรคต้องจำกัดน้ำดื่ม
6 กินยาลดไข้พาราเซตามอล หรือตามแพทย์/พยาบาล/เภสัชกรแนะนำไม่ควรกินยาแอสไพรินเพราะอาจเกิดการแพ้ ดังกล่าว
7 ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งก่อนกินอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ
8 ใช้ทิชชู่ในการสั่งน้ำมูกหรือเช็ดปาก ไม่ควรใช้ผ้าเช็ดหน้าหลังจากนั้นทิ้งทิชชู่ให้ถูกสุขอนามัย
รู้จักใช้หน้ากากอนามัย
9 งดบุหรี่ หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ เพราะเป็นสาเหตุให้อาการรุนแรงขึ้น
10 ควรรีบพบแพทย์เมื่อไข้สูงเกิน 39 - 40 องศาเซียลเซียสและไข้ไม่ลดลงหลังได้ยาลดไข้ภายใน 1 - 2 วันเมื่อเป็นคนในกลุ่มเสี่ยงภายใน 3 วันเมื่อเป็นคนสุขภาพแข็งแรง
11 มีผื่นขึ้น
12 ดื่มน้ำได้น้อยหรือกินอาหารได้น้อย
13 ไอมาก มีเสมหะ และ/หรือ เสมหะมีสีเหลืองหรือเขียวซึ่งแสดงว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
14 อาการไม่ดีขึ้นหลังไข้ลง หรือ หลังไข้ลงกลับมีไข้อีก
15 เป็นโรคหืด เพราะโรคหืดมักกำเริบและควบคุมเองไม่ได้
16 อาการต่างๆเลวลง
17 เมื่อกังวลในอาการควรพบแพทย์เป็นการฉุกเฉิน
เมื่อหอบเหนื่อยร่วมกับไอมาก อาจร่วมกับนอนราบไม่ได้
เพราะเป็นอาการแทรกซ้อนจากปอดบวม
18 เจ็บหน้าอกมากร่วมกับหายใจขัด เหนื่อย
เพราะเป็นอาการจากอาการแทรกซ้อนจากเยื่อหุ้มหัวใจ
หรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
19 ชัก ซึม สับสน แขน/ขาอ่อนแรง อาจร่วมกับปวดศีรษะรุนแรง
และคอแข็ง เพราะเป็นอาการแทรกซ้อนจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
และ/หรือ สมองอักเสบ
และแนว ทางการรักษาในระยะแรก เหมือนกัน ที่แตกต่าง คือเกิดจากติดเชื้อไวรัสคนละชนิด
2 อาการจากไข้หวัดใหญ่ รุนแรงกว่ามากและมีอาการรุนแรงทันที
แต่อาการของไข้หวัดจะค่อยเป็นค่อยไป
3 โรคไข้หวัดใหญ่มักเกิดโรคข้างเคียงแทรกซ้อนได้โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง
4 ในไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการรุนแรง แพทย์อาจรักษาด้วยยาต้านไวรัสตั้งแต่แรก
5 โรคไข้หวัดใหญ่มีวัคซีนป้องกัน
(ปรึกษาแพทย์เรื่องการได้รับวัคซีนเมื่อเป็นกลุ่มเสี่ยง) แต่ไข้หวัดไม่มี
(Celsius) โดยไข้ขึ้นสูงภายใน 1 วัน ปวดศีรษะมาก ปวดกระบอกตาเวลาตาเคลื่อนไหวมีน้ำตาไหลเมื่อมีแสงสว่าง ปวดกล้ามเนื้อ/ปวดเมื่อยเนื้อตัวอ่อนเพลียมาก ไอแห้ง ๆ เจ็บคอ คัดจมูก เบื่ออาหาร ทั้งหมดเป็นอาการที่พบได้บ่อยแต่อาการที่อาจพบได้และเป็นอา การรุนแรงกว่า เช่น หายใจเหนื่อย หอบหายใจมีเสียงหวีด ไอรุนแรง หนาวสั่น คลื่นไส้ ท้อง เสีย มึนงง ซึมและ หัวใจล้มเหลว
โรคไข้หวัดใหญ่รุนแรงไหม?
โรคไข้หวัดใหญ่รุนแรงไหม? มีโรคแทรกซ้อนไหม?โดยทั่วไปในโรคไข้หวัดใหญ่ ถ้าไม่มีโรคแทรกซ้อน (ผลข้างเคียง) อาการไข้ และอาการต่างๆจะดีขึ้นภายใน 5 - 7 วัน ผู้ป่วยจะค่อยๆฟื้นตัวกลับเป็นปกติ
แต่ในเด็กเล็ก คนท้อง/หญิงตั้งครรภ์ ในผู้สูงอายุ หรือเมื่อมีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่ำ (กลุ่มเสี่ยง)
ภายหลังไข้ลง อาจยังมีอาการอ่อนเพลียมากต่อเนื่องได้อีกหลายสัปดาห์โรคแทรกซ้อนของไข้หวัดใหญ่ มีทั้งชนิดไม่รุนแรงและชนิดรุนแรงชนิดไม่รุนแรงเช่น การอักเสบของหูชั้นกลาง (หูติดเชื้อ, หูน้ำหนวก)
และของไซนัส (ไซนัสอักเสบ)แต่เมื่อมีโรคแทรกซ้อนชนิดรุนแรงซึ่งมีโอกาสเกิดสูงในบุคคลกลุ่มเสี่ยง อาจเป็นสาหตุให้เสียชีวิตได้ เช่น ปอดบวมผู้ป่วยโรคหืด จะมีอาการรุนแรงขึ้นมากกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ และ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบสมองอักเสบ และ/หรือ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกิดอัมพาต ชัก แขน/ขาอ่อนแรง และโคม่า
โรคไข้หวัดใหญ่ติดต่ออย่างไร?
โรคไข้หวัดใหญ่ติดต่อได้โดยวิธีเช่นเดียวกับโรคหวัด โดยติดต่อทางการหายใจจากการไอ จามของผู้ป่วย, จากเชื้อที่อยู่ในละอองอากาศเข้าสู่จมูกจากการหายใจ หรือสัมผัสกับเยื่อตา หรือ เยื่อเมือกช่องปาก, และจากสัมผัสเชื้อโดยตรง เช่นจากมือสัมผัสเชื้อ แล้วมือเช็ดปากหรือขยี้ตา ซึ่งการแพร่กระจายเกิดได้สูงในสัปดาห์แรกของอาการ
แพทย์วินิจฉัยโรคไข้หวัดใหญ่ได้อย่างไร?
โดยทั่วไปแพทย์วินิจฉัยโรคไข้หวัดใหญ่ได้จากอาการและการตรวจร่างกาย แต่ที่แน่ นอน
คือ การตรวจเพาะเชื้อ จากลำคอโพรงหลังจมูก และเสมหะ และ การตรวจเลือดดูสารภูมิต้านทานโรค
คือ การตรวจเพาะเชื้อ จากลำคอโพรงหลังจมูก และเสมหะ และ การตรวจเลือดดูสารภูมิต้านทานโรค
โรคไข้หวัดใหญ่รักษาอย่างไร?
โรคไข้หวัดใหญ่มีแนวทางดูแลรักษาเช่นเดียวกับในโรคหวัด ซึ่งที่สำคัญคือ พักผ่อนมาก ๆ ดื่มน้ำมากๆเพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ (เมื่อไม่มีโรคต้องจำกัดน้ำดื่ม)ให้ยาลดไข้พาราเซตามอลหรือตามแพทย์แนะนำ (ห้ามใช้ยาแอสไพรินโดยเฉพาะในเด็ก เพราะอาจเกิดการแพ้ยาแอสไพริน)ไม่ควรกินยาปฏิชีวนะเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ ในรายที่รุนแรงหรือกลุ่มเสี่ยงอาจรักษาโดยยาต้านไวรัสตั้งแต่เริ่มมีอาการ
มีวิธีดูแลตนเองอย่างไร?
การดูแลตนเอง/การพบแพทย์ เมื่อเป็นไข้หวัดใหญ่ที่สำคัญ คือการดูแลตนเอง/การพบแพทย์เมื่อเป็นไข้หวัดใหญ่ที่สำคัญ คือ
1 เมื่อมีไข้ ควรหยุดโรงเรียนหรือหยุดงานแยกตัวและของใช้จากผู้อื่น เพื่อพักผ่อนและป้องกันการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
2 พักผ่อนให้มากๆ
3 รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน (สุขบัญญัติแห่งชาติ) เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงลดโอกาสเกิดโรคข้างเคียงแทรกซ้อนและลดการแพร่เชื้อ
4 พยายามกินอาหารมีประโยชน์ห้าหมู่ในทุกวัน
5 ดื่มน้ำสะอาดให้มากๆอย่างน้อยวันละ 6 -8 แก้วเมื่อไม่มีโรคต้องจำกัดน้ำดื่ม
6 กินยาลดไข้พาราเซตามอล หรือตามแพทย์/พยาบาล/เภสัชกรแนะนำไม่ควรกินยาแอสไพรินเพราะอาจเกิดการแพ้ ดังกล่าว
7 ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งก่อนกินอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ
8 ใช้ทิชชู่ในการสั่งน้ำมูกหรือเช็ดปาก ไม่ควรใช้ผ้าเช็ดหน้าหลังจากนั้นทิ้งทิชชู่ให้ถูกสุขอนามัย
รู้จักใช้หน้ากากอนามัย
9 งดบุหรี่ หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ เพราะเป็นสาเหตุให้อาการรุนแรงขึ้น
10 ควรรีบพบแพทย์เมื่อไข้สูงเกิน 39 - 40 องศาเซียลเซียสและไข้ไม่ลดลงหลังได้ยาลดไข้ภายใน 1 - 2 วันเมื่อเป็นคนในกลุ่มเสี่ยงภายใน 3 วันเมื่อเป็นคนสุขภาพแข็งแรง
11 มีผื่นขึ้น
12 ดื่มน้ำได้น้อยหรือกินอาหารได้น้อย
13 ไอมาก มีเสมหะ และ/หรือ เสมหะมีสีเหลืองหรือเขียวซึ่งแสดงว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
14 อาการไม่ดีขึ้นหลังไข้ลง หรือ หลังไข้ลงกลับมีไข้อีก
15 เป็นโรคหืด เพราะโรคหืดมักกำเริบและควบคุมเองไม่ได้
16 อาการต่างๆเลวลง
17 เมื่อกังวลในอาการควรพบแพทย์เป็นการฉุกเฉิน
เมื่อหอบเหนื่อยร่วมกับไอมาก อาจร่วมกับนอนราบไม่ได้
เพราะเป็นอาการแทรกซ้อนจากปอดบวม
18 เจ็บหน้าอกมากร่วมกับหายใจขัด เหนื่อย
เพราะเป็นอาการจากอาการแทรกซ้อนจากเยื่อหุ้มหัวใจ
หรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
19 ชัก ซึม สับสน แขน/ขาอ่อนแรง อาจร่วมกับปวดศีรษะรุนแรง
และคอแข็ง เพราะเป็นอาการแทรกซ้อนจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
และ/หรือ สมองอักเสบ
โรคไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ไหม?
1 โรคไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ที่สำคัญ คือรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน
(สุขบัญญัติแห่งชาติ) พักผ่อนให้มากๆ กิน อาหารมี ประโยชน์ให้ครบห้าหมู่ทุกวัน โดยเพิ่มผัก/ผลไม้มากๆ
2 ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งก่อนกินอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ
3 หลีกเลี่ยงการคลุกคลีสัมผัสผู้ป่วย หลีกเลี่ยงการไปในที่แออัด
4 รักษาความสะอาดของใช้ส่วนตัว เช่น ไม่ใช้ช้อน แก้วน้ำ ร่วมกับบุคคลอื่น
5 ไม่ใช้มือไม่สะอาดขยี้ตา ล้างมือก่อนเมื่อจะสัมผัสดวงตา
6 รู้จักใช้หน้ากากอนามัย
7 เมื่อเป็นกลุ่มเสี่ยงหรือต้องดูแลผู้ป่วย
ควรปรึกษาแพทย์ขอรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
โรคไข้หวัดใหญ่ต่างจาก โรคหวัดไหม?
1 โรคไข้หวัดใหญ่และโรคหวัด เป็นคนละโรค แต่มีวิธีติดต่อ อาการ วิธีวินิจฉัยและแนว ทางการรักษาในระยะแรก เหมือนกัน ที่แตกต่าง คือเกิดจากติดเชื้อไวรัสคนละชนิด
2 อาการจากไข้หวัดใหญ่ รุนแรงกว่ามากและมีอาการรุนแรงทันที
แต่อาการของไข้หวัดจะค่อยเป็นค่อยไป
3 โรคไข้หวัดใหญ่มักเกิดโรคข้างเคียงแทรกซ้อนได้โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง
4 ในไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการรุนแรง แพทย์อาจรักษาด้วยยาต้านไวรัสตั้งแต่แรก
5 โรคไข้หวัดใหญ่มีวัคซีนป้องกัน
(ปรึกษาแพทย์เรื่องการได้รับวัคซีนเมื่อเป็นกลุ่มเสี่ยง) แต่ไข้หวัดไม่มี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)